บทความ/ข่าวประชาสัมพันธ์


เที่ยวแบบรักษ์โลก เที่ยวแบบ “Low Carbon Tourism”

อุตสาหกรรมท่องเที่ยวนั้นปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ประมาณ 4,500 ล้านตันในแต่ละปี หรือคิดเป็น 8% ของก๊าซเรือนกระจกที่ปล่อยสู่บรรยากาศโลก เมื่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยวมีบทบาทสำคัญที่ทำให้เกิดภาวะเรือนกระจกมากขึ้น เทรนด์ “การท่องเที่ยวสีเขียว” จึงมีบทบาทสำคัญที่นำมาใช้แก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม หนึ่งในรูปแบบการท่องเที่ยวสีเขียว คือ “การท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำ (Low Carbon Tourism)”

ขยะทะเล…แก้ได้ที่ตัวเรา

ไทยติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลมากที่สุดในโลก ซึ่งมีปริมาณมากถึง 22.8 ล้านกิโลกรัม (ข้อมูล ณ ปี 2564) ขยะทะเลที่เราเห็นเวลาไปเที่ยวหรือตามข่าวมีต้นกำเนิดหลัก ๆ มาจากบนบก 80% และอีก 20% เกิดในทะเล

เมื่อเหมืองแร่กับชุมชนอยู่ร่วมกัน กรณีศึกษาตำบลหน้าพระลาน จังหวัดสระบุรี

แร่เป็นทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศและเป็นวัตถุดิบพื้นฐานสำหรับอุตสาหกรรมทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ โดยมูลค่าทรัพยากรแร่ทั้งในแง่ของการผลิต การใช้ การนำเข้า และการส่งออก ใน พ.ศ. 2563 มีมูลค่ารวมกันมากถึง 200,000 ล้านบาท

“ป่าในเมือง” (Urban Forest)

ในปัจจุบัน เมืองมีการขยายตัวเข้าไปในพื้นที่ชนบท รวมถึงประชาชนต้องการย้ายถิ่นฐาน เข้ามาอยู่อาศัยในตัวเมืองมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ คือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือตัวเมืองระดับจังหวัด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางของความเจริญมากมายหลายด้าน เมื่อผู้คนเริ่มหลั่งไหล เข้ามาตั้งถิ่นฐานในเมืองมากขึ้นจนเกิดความแออัด และในอนาคตคาดว่าจะมีประชากรย้ายเข้ามาอาศัยในเมืองเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นำมาสู่ปัญหาต่อความเป็นอยู่ที่แออัดและความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม

E-Waste ขยะใกล้ตัวที่รอการแก้ปัญหา

ปัจจุบัน ปัญหาขยะที่สำคัญที่อยู่ใกล้ตัวและเป็นขยะอันตรายที่กำจัดยากแอบซ่อนอยู่ ขยะที่ว่า คือ โทรศัพท์มือถือ แท็บแล็ต และอุปกรณ์เสริมต่างๆ คอมพิวเตอร์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่ใช้งานไม่ได้แล้ว หรือล้าสมัย อุปกรณ์เหล่านี้จะกลายเป็นขยะที่จัดอยู่ในประเภทขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ E-Waste

การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงพี้นที่ “ลุ่มน้ำยม” อย่างเป็นระบบ

น้ำ เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นผลิตผลจากธรรมชาติที่ไม่สามารถผลิตเพิ่มหรือลดปริมาณที่มีอยู่ในธรรมชาติได้เองตามต้องการ ซึ่งเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญและจำเป็นต่อการดำรงชีวิตและการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทั้งการอุปโภคและบริโภค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การรักษาระบบนิเวศ การท่องเที่ยว การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และการคมนาคมขนส่ง เป็นต้น

การบริหารจัดการนำ้

วิกฤตน้ำของประเทศไทย ย้อนไปในฤดูแล้ง ปี พ.ศ. 2565 ทำให้มีน้ำไม่เพียงพอต่อการทำการเกษตร โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง และภาคกลางตอนบน เนื่องจากการใช้น้ำในภาพรวมของทั้งประเทศ เป็นการใช้น้ำเพื่อเกษตรกรรมมากที่สุด 2,293.98 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 63.91

ขยะพลาสติก

พลาสติกเป็นบรรจุภัณฑ์ที่ช่วยอำนวยความสะดวกในชีวิตประจำวันของผู้คน กระบวนการผลิตพลาสติกส่วนใหญ่จะมีการใส่สารเติมแต่งและไมโครพลาสติก (Microplastic) สารเหล่านี้ยากแก่การย่อยสลายและกลายเป็นขยะตกค้างในสิ่งแวดล้อม และสารเติมแต่งบางชนิดยังก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของประชาชน

การจัดการระบบสาธารณสุขภายใต้การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19: กรณีศึกษา การจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อของกรุงเทพมหานคร

สภาวะวิกฤติการระบาดของ “โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19” ถือเป็นโรคติดต่ออุบัติใหม่ ทำให้ทั่วโลกและประเทศไทยอยู่ในสถานการณ์ต้องรับมือกับโรคโควิด 19 ที่เริ่มระบาดในเมืองอู่ฮั่น ประเทศจีน ตั้งแต่ปลายเดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ทำให้เกิดโรคในระบบทางเดินหายใจ พบได้ในคนทุกอายุ ต่อมาเมื่อวันที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศให้โรคโควิด 19 เป็นภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ ต่อมาเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2563 ประกาศการระบาดทั่วโลก

ค้นพบ ‘ปอยาบเลื้อย’ พรรณไม้ชนิดใหม่ของโลก ที่จังหวัดตาก

วันที่ 31 มกราคม 2565 นายเสริมพงศ์ นวลงาม นักวิชาการป่าไม้ชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 16 สาขาแม่สะเรียง กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช เปิดเผยว่า ได้สำรวจพบพรรณไม้เลื้อย สกุลปอยาบ (Grewia) วงศ์ชบา (Malvaceae) แต่ไม่ทราบชนิด จากป่าในท้องที่อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2563